พระกับรถยนต์
จำไม่ได้ว่าใครเป็นผู้เล่าเรื่องนี้ให้ผมฟัง (ถ้าไม่ใช่คุณกมลก็เป็นคุณชัยสิทธิ) ผู้เล่าได้ไปกราบหลวงพ่อชา ที่วัดหนองป่าพง ในเย็นวันหนึ่ง เห็นรถยนต์ค่อนข้างใหม่จอดอยู่ข้างกุฏิ ถามหลวงพ่อว่ารถใคร
Read moreจำไม่ได้ว่าใครเป็นผู้เล่าเรื่องนี้ให้ผมฟัง (ถ้าไม่ใช่คุณกมลก็เป็นคุณชัยสิทธิ) ผู้เล่าได้ไปกราบหลวงพ่อชา ที่วัดหนองป่าพง ในเย็นวันหนึ่ง เห็นรถยนต์ค่อนข้างใหม่จอดอยู่ข้างกุฏิ ถามหลวงพ่อว่ารถใคร
Read moreผู้สร้างเหรียญพระแก้วมรกต เป็นข้าราชการพัฒนาที่ดิน (ไม่ทราบชื่อ) ได้ขออนุญาตสร้างเพื่อแจกเป็นของที่ระลึกในโอกาสจะย้ายออกจากจังหวัดอุบลราชธานี โดยขออนุญาตสร้างประมาณ 300 เหรียญ เมื่อสร้างเสร็จนำมาถวาย หลวงพ่อก็รับเหรียญทั้งหมดนำไปไว้ใต้ฐานพระประธานในศาลาการเปรียญหลังเก่า (ปัจจุบันรื้อสร้างใหม่) เป็นเวลานานวันระหว่างที่กำลังจะเข้าพรรษา ครั้นออกพรรษาแล้วผู้สร้างมาขอรับเหรียญกลับคืน หลวงพ่อก็มอบให้ไปทั้งหมด ผู้สร้างได้แบ่งออกถวายหลวงพ่อ 35 เหรียญ
Read moreพระเครื่องพิมพ์นี้ร่วมมือกันสร้างขึ้นสามคน คือร้านง่วนอัง, คุณอ๊อด และอีกคนไม่ทราบชื่อ แต่เป็นเจ้าของแผงหนังสือพิมพ์ที่โรงหนังศิริสิน (ปัจจุบันโรงหนังยุบเลิกแล้ว) ขณะที่กำลังมีการกดพิมพ์พระชุดนั้น คุณชัยสิทธิ์ เตชะศิริธนะกุล ไปกราบหลวงพ่อที่วัดหนองป่าพงพอดี หลวงพ่อได้กบ่าวว่า “เขาขอรูปเฮาไปทำล็อกเกต ดันไปทำเป็นบล็อกทองเหลืองมา โน่นกำลังกดอยู่ในหอฉัน ไปดูสิ” ขณะที่กดกันอยู่ในวัดคราวนั้นมีทั้งหมด 104 องค์แล้ว นำพระถวายหลวงพ่อแล้ว คณะผู้จัดสร้างได้ขอบล็อกกลับคืนไปก่อน
Read moreระหว่างปี 2514-2515 ก็มีการสร้างพระเครื่องถวายท่านแจกหลายรุ่นหลายพิมพ์ แต่ไม่สามารถจะรวบรวมหรือเรียงตามลำดับก่อนหลังได้
Read moreสืบเนื่องจากบล็อกที่คุณกฤษณะและแม่ชีวิไลนำมาถวาย หลวงพ่อก็ได้อนุญาตให้มีการสร้างพระเครื่องเนื้อผงขึ้นเป็นครั้งแรกโดยใช้บล็อกดังกล่าว ผู้ที่ได้เข้าร่วมกดพิมพ์พระคนหนึ่งคือคุณชัยสิทธิ เตชะศิริชนะกุล ซึ่งได้เล่าว่าพิธีกดพระทำขึ้นที่ใต้ถุนกุฏิหลวงพ่อทำกันเองในหมู่ลูกศิษย์ใกล้ชิด
Read moreลักษณะเป็นแผ่นตะกั่วม้วนหุ้มเป็นแท่ง ขนาดประมาณหัวลูกปืน ยาวบ้าง สั้นบ้างหัวกลมมนแบบลูกปืนบ้าง หัวตัดท้ายตัดบ้าง หัวแหลมเป็นทรงกรวยบ้าง
Read moreหลวงพ่อชาท่านเป็นประชาธิปไตย์แท้ เมื่อคณะสงฆ์เห็นพ้องให้ยุติเรื่องวัตถุมงคล ท่านก็ยุติตามมติสงฆ์
Read moreหลวงพ่อชา-สอนวิธีถวายปัจจัยแก่พระอย่างไรจึงเป็นบุญ — สำหรับพระ ก็มีแค่ ๒ เรื่อง คือ สมควร กับ ไม่สมควร ของที่ไม่สมควรถวาย หรือของที่พระไม่สมควรรับ เรียกว่า อกัปปิยะ ซึ่งแปลว่า ของที่ไม่สมควรแก่บรรพชิต “เงิน” ที่เราท่านทั้งหลายนิยมเรียกว่า“ปัจจัย” นั้น เป็นของสมควรหรือไม่
Read more